“การขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ”
ชื่อ – นามสกุล นางดวงใจ บุระผากา
ตำแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก 053 – 350072
ชื่อเรื่อง “การขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ”
เป็นการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ/ความสำเร็จเกี่ยวกับ ขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ
เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อ มีนาคม 2557
สถานการณ์ที่เกิดขึ้น บ้านดอย หมู่ที่ 7 ตำบลหนองแหย่ง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
เนื้อเรื่อง : สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอสันทราย ได้ดำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ตามโครงการขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดยมีการจัดทำเวทีเพื่อพัฒนาและนำความรู้ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ของอำเภอสันทราย โดยกำหนดกรอบการทำงานเพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นรากฐานของชีวิตในหมู่บ้าน 4 ฐานการเรียนรู้ และการประเมินผลด้วย 6 หมวด 12 ตัวชี้วัด ซึ่งในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ การประยุกต์การดำเนินงานที่แตกต่างกันตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่เกิดผลการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยกำหนดแบบและแนวทางการประเมินผลการดำเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อจัดระดับการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงใน 3 ระดับ คือ “พออยู่ พอกิน” “อยู่ดี กินดี” และมั่งมี ศรีสุข” เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการเรียนรู้ เป็นตัวอย่างขยายผลการดำเนินงานและเป็นฐานข้อมูลในการกำหนดแผนงานและแนวทางในการสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาชุมชนในเรื่องการดำเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
วิธีการแก้ไขปัญหา ให้ประสบความสำเร็จ
1. คัดเลือกหมู่บ้านที่มีความพร้อม ในด้านผู้นำ กลุ่มองค์กร กิจกรรมตามงานพัฒนาชุมชน เช่น กทบ. กข.คจ.และออมทรัพย์เพื่อการผลิตฯลฯ..
2. คัดเลือกครอบครัวพัฒนาในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 30 ครัวเรือน โดยคัดเลือกครอบครัวพัฒนาที่สมาชิกในครอบครัวมีคุณสมบัติ และมีกิจกรรมสมควรเป็นแบบอย่าง และต้องการเข้าร่วมโครงการฯ สามารถขยายผลสู่ครอบครัวอื่นๆ ด้วยการจัดให้เป็นจุดเรียนรู้ชุมชนได้
3. ศึกษาดูงานประสบการณ์การพัฒนาวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง จากแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ
ทักษะและความรู้ที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา
1. การประชุมชี้แจงให้การดำเนินกิจกรรมสร้างความเข้าใจให้กับผู้นำ กลุ่มองค์กร กิจกรรมตามงานพัฒนาชุมชน เช่น กทบ. กข.คจ.และออมทรัพย์เพื่อการผลิตและตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชนในการดำเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
2. การทำงานเป็นทีม โดยภาคีการพัฒนา ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน ให้ทราบแนวทางการดำเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
3. การประเมินผลการจัดเวทีในการดำเนินกิจกรรมในเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน
-2-
บันทึกขุมความรู้ (Knowledge Assets) : นำเหตุการณ์ ประเด็น สำคัญในเนื้อเรื่องมาถอดเป็นขุมความรู้
1. สร้างความสัมพันธ์กับ ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน,กลุ่มองค์กรต่างๆและครัวเรือน
เป้าหมาย จำนวน 30 ครัวเรือน
2. การกระตุ้นให้มีการแลกเปลี่ยน โดย ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล และสภาพปัญหาของชุมชน
การขัดแย้งที่มีในพื้นที่ วิเคราะห์ข้อมูลและ การพูดคุย ซักถาม กระตุ้น ชี้แนะ จัดเวทีประชุมทั้งจากอาศัยโครงการที่มีอยู่และ
จากการพบปะทั่วไปในพื้นที่ เช่น การให้การศึกษาปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงเป็นต้น
3. การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในชุมชนและครัวเรือนเพื่อวางแผนกิจกรรมต่างๆ
ในชุมชน
แก่นความรู้ (Core Compepetency) : นำขุมความรู้มาสกัดเป็นแก่นความรู้
1. เข้าใจในแนวทางการพัฒนาและนำกระบวนการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ใน
ครัวเรือนและชุมชน
2. มีแนวทางพัฒนาชุมชนของตนเองอย่างเป็นระบบ
3. มีการวางแผนการดำเนินงานในชุมชนและสามารถนำไปเผยแพร่กิจกรรมด้านเศรษฐกิจพอเพียง
4. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ทั้งผู้นำ องค์กรต่างๆในชุมชนในการพัฒนากิจกรรมด้านเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ในการทำงาน : นำแก่นความรู้มากำหนดเป็นกลยุทธ์ในการทำงาน
๑. ศึกษาปัญหา รับทราบข้อมูล ตามโครงการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้กลุ่มต่างๆ ในชุมชนเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการดำเนินกิจกรรม
๒. ปรึกษาหารือ เพื่อสร้างบรรยากาศในการดำเนินกิจกรรมรวมทั้งความเป็นกันเองกับผู้นำและ เจ้าหน้าที่และวิทยากรผู้ให้ความรู้
3. สร้างความพึงพอใจสร้างความพึงพอใจด้วยการชี้แจง ตอบข้อซักถาม ข้อข้องใจของผู้เกี่ยวข้องได้
4. งานสัมฤทธิ์ผล เพื่อสร้างความรู้สึกรับผิดชอบร่วมกัน มีส่วนร่วมทำงาน เกิดความเข้าใจในแนวทาง วิธีการ ที่เกี่ยวข้องมากขึ้น ทำงานได้
กฎระเบียบ/แนวคิด/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง : ตรวจสอบดูว่ามีกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง แนวคิด ทฤษฎีที่สามารถอ้างอิงได้บ้างหรือไม่
1. แนวคิดเกี่ยวกับหลักการพัฒนาชุมชน
2. แนวคิดการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
3. แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
4. ประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงตามเกณฑ์ของกระทรวงมหาดไทย (23 ตัวชี้วัด)
alusik@commodity.convenience” rel=”nofollow”>.…
good info….
velours@gourmets.compliance” rel=”nofollow”>.…
спс!!…
bookers@nerveless.awnings” rel=”nofollow”>.…
good!!…
essentials@philosophical.manure” rel=”nofollow”>.…
thanks!…
goooolick@parking.gallantry” rel=”nofollow”>.…
спасибо за инфу!…
malocclusion@opinionated.feline” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðþ!!…
demage@hawkers.tonsil” rel=”nofollow”>.…
good….
satiric@bridal.gods” rel=”nofollow”>.…
ñïàñèáî!!…
chortled@inscription.monticello” rel=”nofollow”>.…
ñïñ çà èíôó!…
yff@deep.covent” rel=”nofollow”>.…
thanks!…
chambermaid@pretense.ladylike” rel=”nofollow”>.…
ñïñ….
buenas@baptized.dilthey” rel=”nofollow”>.…
ñïñ….
criminal@durrells.cheated” rel=”nofollow”>.…
ñïñ!…
morphine@floyd.unrelieved” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðñòâóþ….
lights@containing.gardens” rel=”nofollow”>.…
ñïñ….
cereals@pint.aforesaid” rel=”nofollow”>.…
tnx for info….
surgeon@writing.swap” rel=”nofollow”>.…
hello!…
bibles@klauber.cautioned” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðåí….
conveyed@medical.gobbled” rel=”nofollow”>.…
tnx for info!!…
evangelism@rubric.aeronautical” rel=”nofollow”>.…
ñýíêñ çà èíôó….
hill@murat.btu” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðþ….
toured@tribe.monasteries” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðþ!!…
forthcoming@interrogation.turnkey” rel=”nofollow”>.…
good!!…
schooled@junks.reviled” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðåí….
betrayer@campo.mceachern” rel=”nofollow”>.…
ñïñ!…
incipiency@problems.regeneration” rel=”nofollow”>.…
ñïàñèáî çà èíôó!!…