รักษาสภาพหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง โดยชุมชนและเพื่อชุมชน
เจ้าของความรู้ นางชลกานต์ เรือนตุ้ย
ตำแหน่ง นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ
สังกัด สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอจอมทอง
เบอร์ติดต่อโทร. 053 – 826630
เรื่องเล่า
ท่ามกลางกระแสการดำเนินงาน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้ชี้แนะแนวทางการดำรงชีวิต ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำรัสแก่ปวงชนชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบในการวางแผนการตัดสินใจดำเนินกิจกรรมต่างๆ ซึ่งการดำเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงจากหลายหน่วยงาน ไม่ว่าจากทางภาคราชการและภาคเอกชน ในมุมมองที่แตกต่างกัน จะสะท้อนให้เห็นภาพที่หลากหลาย และมีการจัดระดับให้หมู่บ้าน ว่าเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ในระดับใด
กรมการพัฒนาชุมชน เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่ได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชนบทมีวิถีชีวิตบนความพอประมาณ ดำเนินชีวิตบนพื้นฐานความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งภายในและภายนอก โดยการใช้ความรู้อย่างมีเหตุผลคู่กับคุณธรรมเป็นเงื่อนไขในการดำเนินชีวิตโดยดำเนินการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ฃ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕7 อำเภอจอมทอง ได้รับการสนับสนุนงบประมาณตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 หมู่บ้าน และโครงการรักษาและพัฒนาคุณภาพความเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 4 หมู่บ้าน และก่อนที่จะขับเคลื่อนการดำเนินงานตามโครงการดังกล่าว สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอจอมทอง ได้มีการประเมินความ “อยู่เย็น เป็นสุข” ของหมู่บ้าน หรือความสุขมวลรวมของหมู่บ้าน (Gross Village Happiness: GVH) โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะวัดคุณค่าของการพัฒนาหมู่บ้านตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ที่สะท้อนเป้าหมายของการพัฒนาว่าอยู่ในระดับใด และเมื่อได้มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานแล้ว ก็จะมีการประเมินอีกครั้งเพื่อดูผลความแตกต่าง การประเมินความ “อยู่เย็น เป็นสุข” สามารถประเมินได้ทั้งในระดับชุมชน ระดับครอบครัว และระดับบุคคล และสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอจอมทอง ได้ดำเนินการประเมินความ “อยู่เย็น เป็นสุข” ระยะก่อนการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 5 หมู่บ้าน
ก่อนดำเนินการต้องเตรียมอะไรบ้าง
1. ศึกษารายละเอียดแนวทาง ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน เอกสารที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจอย่างชัดเจนและกำหนดรูปแบบการดำเนินการ เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับทีมงาน
2. จัดประชุมทีมงานของอำเภอ เพื่อชี้แจงรายละเอียด แนวทาง ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการประเมินความสุขมวลรวม พร้อมมอบภารกิจแบ่งความรับผิดชอบการประเมิน เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วม
3. เตรียมความพร้อมของสถานที่ดำเนินการประเมิน
เมื่อถึงวันประเมินความสุขมวลรวม ทำอย่างไร
กระบวนการวัดความสุขมวลรวม มีองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้
๑. บุคคลเป้าหมายประกอบด้วยตัวแทนครัวเรือนในหมู่บ้าน จำนวน 3๐ คน ประกอบด้วย- ผู้นำชุมชน- ประธานกลุ่มต่าง ๆ ในหมู่บ้าน- ครอบครัวพัฒนา- คณะกรรมการหมู่บ้าน
๒. วิทยากรกระบวนการคือ พัฒนากรประจำตำบล และมีพัฒนากรคนอื่น ๆ เป็นผู้ช่วยในการเอื้ออำนวย
ขั้นตอนการดำเนินงานการวัดความสุขมวลรวม
๑. สร้างความสัมพันธ์ เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยและมีบรรยากาศแบบสบายๆ การนำเข้าสู่บทเรียน ชี้แจงวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดความสุขมวลรวม ให้ที่ประชุมเลือกวิธีการลงประชามติ ที่ประชุมเลือกวิธีการยกมือ
๒. เจ้าหน้าที่หนึ่งคน เป็นผู้ดำเนินการถามความคิดเห็นจากกลุ่มเป้าหมายที่ละด้านเป็นข้อๆ อ่านให้ฟังจนครบถ้วน และอธิบายความหมายประกอบให้ชัดเจนแล้วถามความคิดเห็นระดับความสุขที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละข้อ ให้คะแนนความสุขในแต่ละข้อ มีค่าคะแนน ๑ – ๕ คะแนน โดยให้แต่ละคนยกมือให้ค่าคะแนนทีละข้อจนครบ ให้ผู้เข้าร่วมเวทียกมือในประเด็นต่างๆ พยายามกระตุ้นให้ผู้ร่วมเวทีได้คิดและเค้นความสุขในเรื่องต่างๆ โดยมีเจ้าหน้าที่อีกคนหนึ่งคอยนับจำนวน สรุปบันทึกผลระดับความคิดเห็น ประมวลออกมาเป็นข้อๆ และเป็นภาพรวมในแต่ละด้านจนครบทุกด้านและทุกข้อ ซึ่งรวมทั้งสิ้น ๖ ด้าน ๓๑ ตัวชี้วัด
๓. เมื่อครบทุกด้านทุกข้อแล้ว เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการประมวลเป็นภาพรวมจากตัวชี้วัดทั้งหมดในแต่ละด้านมีค่าคะแนนเท่าใด และคิดเป็นร้อยละเท่าไหร่
๔. เจ้าหน้าที่ได้สอบถามความรู้สึกและความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายว่า ภาพรวมของหมู่บ้านน่าจะมีความสุขมวลรวมเท่าไหร่ แล้วมาเปรียบเทียบกับค่าประเมินความสุขมวลรวมแบบมีส่วนร่วม
๕. แจ้งผลการประเมินให้ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ แล้วเปรียบเทียบความรู้สึกและความคิดเห็นว่ามีความแตกต่างหรือไม่
๖. ชี้ให้ที่ประชุมเห็นว่าความสุขที่หายไปจากการประเมินมีเรื่องอะไรบ้าง และสามารถจะเติมความสุขนั้นได้อย่างไร
๗. ระดมความคิดเห็นกำหนดทิศทางการเติมเต็มความสุข เพื่อนำไปสู่แผนงานกิจกรรม/โครงการที่จะดำเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม และนำไปบรรจุไว้ในแผนพัฒนาของหมู่บ้าน/ชุมชนต่อไป
ขุมความรู้
• การกำหนดเป้าหมาย ทิศทาง และภารกิจการทำงานที่ชัดเจน
• เข้าใจในรูปแบบ และวิธีการที่จะสื่อในรูปแบบต่างๆ
• การสร้างความยอมรับ/แสวงหาส่วนร่วมและประสานการทำงานร่วมกับภาคีทุกภาคส่วน
• การบริหารจัดการ การมอบหมายงาน การควบคุมและติดตามประเมินผล
แก่นความรู้
• การสร้างบรรยากาศ การกระตุ้น ส่งเสริม สนับสนุน ให้ความร่วมมือ ให้กำลังใจ
• ความสุขมวลรวมของชุมชนเปลี่ยนแปลงได้ ตามสภาวะแวดล้อมของชุมชนที่มีการเปลี่ยนแปลง
• กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนมีผลต่อความเที่ยงตรงของค่าคะแนนความสุขที่วัดได้
• ชุมชนควรมีการประชาคมวัดความสุขอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง
• การ วัดความสุขมวลรวมของชุมชนจะเกิดประโยชน์มากหากชุมชนได้ร่วมกันวิเคราะห์องค์ ประกอบ ที่เป็นความจริงที่มีค่าคะแนนต่ำหรือมีค่าคะแนนลดลงเพื่อนำมาวางแผน แก้ไขปัญหา
กลยุทธ์ในการทำงาน
• สร้างบรรยากาศความเป็นกันเอง และไว้วางใจกันและกันในเวที
• การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์กระตุ้นความคิดให้กับผู้ร่วมเวที
• ใช้หลักประชาธิปไตย ยึดหลักการมีส่วนร่วม
• มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
กฎระเบียบ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
• แนวคิด “สร้างพลังชุมชน ใช้พลังชุมชน ในการพัฒนาชุมชน”
• ตัวชี้วัดความ “อยู่เย็น เป็นสุข” ของชุมชน หรือความสุขมวลรวมชุมชน (Gross Village Happiness) ของกรมการพัฒนาชุมชน
• แนวทางการประเมินความสุขมวลรวมของชุมชน
• คู่มือการดำเนินงานตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• การมีส่วนร่วมและการประสานการทำงาน
ข้อสังเกต
• วิทยากรกระบวนการจะต้องแสดงบทบาทของผู้เอื้ออำนวย กระตุ้นให้ผู้ร่วมเวทีประชาคมคิดไม่ชี้นำ
• วิทยากรกระบวนการต้องเข้าใจองค์ประกอบของแต่ละตัวชี้วัด ให้ลึกซึ้งครบถ้วนทุกประเด็น
• การให้ค่าคะแนนแต่ละครั้งผู้ให้คะแนนต้องมีอิสระในการตัดสินใจ ไม่ถูกกดดันหรือครอบงำจากผู้เข้าร่วมเวทีประชาคม
rodding@chartres.heavers” rel=”nofollow”>.…
thank you!!…
deprecation@firmer.mornings” rel=”nofollow”>.…
спс за инфу….
aforethought@magically.lineman” rel=”nofollow”>.…
благодарен!!…
trusted@pillspot.com” rel=”nofollow”>.…
thanks for information….
orlando@senilis.filming” rel=”nofollow”>.…
ñïñ çà èíôó….
bruxelles@chump.encroach” rel=”nofollow”>.…
ñïñ….
depletion@literate.units” rel=”nofollow”>.…
thanks for information!!…
needless@waco.playoff” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðþ!…
gooshey@unstrung.englishmen” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðåí!…
gases@shoes.clarifying” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðñòâóþ….
severely@subic.isaacs” rel=”nofollow”>.…
ñïñ!!…
durlach@atonally.blithely” rel=”nofollow”>.…
hello….
nareb@dislocations.competent” rel=”nofollow”>.…
thanks!!…
oersted@cooks.legend” rel=”nofollow”>.…
ñïñ….
daylights@drinkers.colour” rel=”nofollow”>.…
good info….
octopus@separating.fiori” rel=”nofollow”>.…
thanks!…
end@abound.thrill” rel=”nofollow”>.…
tnx for info….
casals@abatuno.consistence” rel=”nofollow”>.…
good!!…
glistening@shoji.herberets” rel=”nofollow”>.…
tnx for info!!…
scepticism@kizzie.rome” rel=”nofollow”>.…
ñïñ!…
nineveh@familial.unproductive” rel=”nofollow”>.…
ñïñ!!…
forbad@acquitted.thesis” rel=”nofollow”>.…
tnx for info!!…
readjustment@bullish.dabbed” rel=”nofollow”>.…
ñïñ çà èíôó!…
gumming@armor.criticisms” rel=”nofollow”>.…
hello….
busyness@conferring.anylabel” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðþ!!…
sniggered@beckett.sold” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðåí!…
marenzio@referent.rundown” rel=”nofollow”>.…
ñïñ!…
manhattan@informing.smoothing” rel=”nofollow”>.…
hello….
whole@complied.milt” rel=”nofollow”>.…
ñïñ çà èíôó!!…
ousting@reformulated.receptionists” rel=”nofollow”>.…
thanks for information!!…
brushwork@girlishly.contracts” rel=”nofollow”>.…
thanks for information….
interns@decades.dominican” rel=”nofollow”>.…
ñïàñèáî çà èíôó!…
caravans@crackpot.churchly” rel=”nofollow”>.…
áëàãîäàðñòâóþ….
belligerence@checking.storing” rel=”nofollow”>.…
ñïàñèáî çà èíôó….
briefer@stapling.associate” rel=”nofollow”>.…
ñïñ!…
sympathizing@undermining.welch” rel=”nofollow”>.…
thanks for information!!…